product-carousel-0

selected-badgeไพมีโทรซีน ขนาด 100g. #เพลี้ยกระโดด เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล แมลงบั่ว ไม่ให้วางไข่ ไม่ให้เกาะ

฿150
DISCOUNT
฿100 OFF
Min. spend ฿1,500
13 - 30 Mar 2024
Variations
1 ซอง
นาดีดี.คอม
นาดีดี.คอม selected-badge
34.3K Friends 1K+ items sold

Secure payment

Description

ชื่อสามัญ : ไพมีโทรซีน


ใช้ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาข้าว ประสิทธิภาพดีเยี่ยม 3 พลังล๊อค ห้ามกิน ห้ามเกาะและห้ามวางไข่ เพลนั่ม ทําให้เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลหยุดดูดน้ําเลี้ยงจากต้น ข้าวภายใน 1-2 ชั่วโมง ป้องกันผลผลิต และลดปัญหาการเกิดโรคจู๋ (เชื้อไวรัส)


จุดเด่น

ใช้ป้องกันและกําจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลในนาข้าว ประสิทธิภาพดีเยี่ยม 3 พลังล๊อค ห้ามกิน ห้ามเกาะและห้ามวางไข่

ชื่อสามัญ:

ไพมีโทรซีน (Pymetrozine)

กลุ่มสารเคมี:

กลุ่มสารเคมี : Pyridine Azomethines [กลุ่ม 9B]


คุณสมบัติผลิตภัณฑ์

ล็อคปาก : ทําให้เพลี้ยกระโดดสีน้ําตาลหยุดดูดน้ําเลี้ยงจากต้นข้าวภายใน 1-2 ชั่วโมง ป้องกันผลผลิต และลดปัญหาการเกิดโรคจู๋ (เชื้อไวรัส)

ล็อคขา : ทําลายขาหลังของเพลี้ยกระโดด ทําให้ไม่สามารถเกาะต้นข้าวได้ จึงไม่สามารถทําลายข้าวได้

ล็อคการวางไข่ : ทําให้เพลี้ยกระโดดหยุดการวางไข่ ไม่สามารถขยายพันธุ์ ลดการระบาดของเพลี้ยได้อย่างเด็ดขาด


อัตตราการใช้ : หากพบการระบาด 20 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร

กรณีฉีดป้องกัน 100 กรัม ต่อน้ำ 200 ลิตร (ประมาณ 5 ไร่)


วงจรชีวิต

เพศเมียใช้อวัยวะวางไข่ แทงทะลุเนื้อเยื่อพืชเพื่อวางไข่ บริเวณเส้นกลางใบและกาบใบ จากนั้น เพศเมียจะทําการขับสารที่มีลักษณะคล้ายไขขี้ผึ้งสีขาวปกคลุมไข่ เพื่อป้องกันอันตราย


ลักษณะการทําลาย

1. ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย จะดูดกินน้ําเลี้ยงจากใบอ่อนและกาบใบ

2. ใบข้าวโพดไหม้ และทําให้เกิดราดํา จากการขับมูลหวาน พืชสังเคราะห์แสงได้ลดน้อยลง

3. ทําให้ผลผลิตข้าวโพดลดลงถึง 52.2% ฝักข้าวโพดลีบเล็ก เมล็ดมีน้ําหนักน้อย เปราะและแตกหัก ได้ง่ายเมื่อนําไปเข้าเครื่องกะเทาะเมล็ด

การป้องกันและกําจัด

หากพบปุยสีขาวคล้ายขี้ผึ้งเกาะอยู่บริเวณเส้นกลางใบหรือกาบใบ แสดงว่าเริ่มมีการเข้าทําลายของเพลี้ยกระโดดท้องขาว หากพบการระบาดรุนแรงให้เลือกใช้สารกําจัดแมลงดังนี้ เพลนั่มสูตรปราบเพลี้ย 3 พลังล็อค ห้ามกิน ห้ามเกาะ ห้ามวางไข่ เพลี้ยร่วงเร็ว