Description
💥เบาหวานลงไต
อีกหนึ่งอันตรายที่ไม่ควรปล่อยให้เป็นโรคไต ก็เป็นอีกหนึ่งโรคพ่วงที่ตามมาจากเบาหวานได้หากผู้ป่วยเบาหวานไม่ดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม วันนี้เราจะมาลงรายละเอียดเกี่ยวกับ เบาหวานลงไต สำหรับผู้ป่วยจะได้สามารถป้องกันตัวเองจากโรคนี้ได้
📌การเกิดโรคไตจากเบาหวาน
- หากกล่าวถึงโรคเบาหวานแล้วหลายคนอาจส่ายหน้าและรู้สึกกลัว แต่ที่น่ากลัวยิ่งกว่าก็คือ โรคแทรกซ้อนต่าง ๆ ที่ตามมา ที่ล้วนแต่เป็นสาเหตุของการเสียชีวิตเป็นส่วนใหญ่ และที่อยู่ในอันดับต้น ๆ คือ “โรคไตจากเบาหวาน” ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด “โรคไตวาย” เป็นอันดับหนึ่ง ในประเทศไทย ดังนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้โรคไตจากเบาหวานมาย่างกราย เราควรรู้เท่าทันเพื่อป้องกัน
- 💢โรคไตจากเบาหวาน เกิดขึ้นได้อย่างไร
- เมื่อเป็นโรคเบาหวานและไม่สามารถควบคุมน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่ดีได้ ระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงเป็นระยะเวลานานก็จะก่อให้เกิดอันตรายต่อเซลล์ที่บริเวณอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตา ระบบประสาทส่วนปลาย ไต หัวใจและหลอดเลือด
- 💢สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคไตจากเบาหวาน นอกจากระดับน้ำตาลในเลือดที่สูงจนเกิดอันตรายต่อเซลล์ที่ไตแล้ว ยังทำให้เกิดความดันในหลอดเลือดฝอยในไต และอัตราการกรองของไตสูงขึ้น ส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อไต
โรคไตจากเบาหวานแบ่งได้เป็น 5 ระยะ
👉ระยะที่ 1 และ 2 – อาจไม่มีอาการ หรือมีเพียงอาการที่เกิดจากโรคเบาหวาน เช่น ปัสสาวะบ่อย หิวน้ำบ่อย ถ้าตรวจอัตราการกรองของไตจะพบว่าสูงขึ้นกว่าคนปกติร้อยละ 20 – 40 ขนาดของไตอาจใหญ่ขึ้น การตรวจเลือดเพื่อดูการทำงานของไต (ครีอะตินีนในเลือด) จะพบว่าปกติ ตรวจปัสสาวะอาจพบน้ำตาลในปัสสาวะ แต่ไม่พบอัลบูมินในปัสสาวะ หรือพบน้อยกว่า 30 มิลลิกรัมต่อวัน
👉ระยะที่ 3 – พบในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ที่เป็นเบาหวานมานานมากกว่า 5 ปี ส่วนในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 อาจพบได้ตั้งแต่เริ่มตรวจเจอว่าเป็นเบาหวาน การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ คือ เริ่มตรวจพบอัลบูมินในปัสสาวะ อยู่ในช่วง 30 – 300 มิลลิกรัมต่อวัน ถ้าตรวจเลือดเพื่อดูการทำงานของไตพบว่าปกติ ความดันโลหิตจะสูงขึ้น ระยะนี้เรียกว่า microalbuminuria …ถ้ามีการดูแลรักษาที่ดีอาจมีการเปลี่ยนกลับไปเป็นระยะที่ 2 ได้ ในทางกลับกันถ้าการดูแลรักษาไม่ดี ร้อยละ 50 – 80 ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และร้อยละ 20-40 ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 จะมีการดำเนินของโรคไปสู่ระยะที่ 4
👉ระยะที่ 4 – จะพบอัลบูมินในปัสสาวะมากกว่า 300 มิลลิกรัมต่อวัน การตรวจเลือดอาจพบว่าครีอะตินีนสูงกว่าปกติซึ่งแสดงว่าการทำงานของไตลดลง ร้อยละ 70 ของผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตสูง ถ้ามีการดูแลรักษาที่ดีอัลบูมินในปัสสาวะอาจลดลงหรือหายไปได้และสามารถชะลอการเสื่อมของไตได้ แต่ถ้าการดูแลรักษาไม่ดีการทำงานของไตจะลดลงอย่างต่อเนื่องจนเกิดไตวายได้ ร้อยละ 20-50 ในระยะเวลา 5 – 10 ปี ระยะนี้เรียกว่า macroalbuminuria
👉ระยะที่ 5 – ระยะนี้การทำงานของไตลดลงจนเป็นไตวาย จะมีปัสสาวะน้อย บวมตามร่างกาย เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
*** อัลบูมิน คือ โปรตีนชนิดหนึ่งในร่างกาย ***
ทางเลือก ทางรอด นวัตกรรมจากอเมริกา
งานวิจัยโภชนเภสัช สารสกัดสรรพคุณสูง สูตร เบาหวานลงไต
🌿วีทกราส "ต้นข้าวสาลีอ่อน" มีสรรพคุณสูง เพิ่มออกซิเจนในกระแสเลือด ขับสารพิษในกระแสเลือด
🌿งานวิจัยโภชนเภสัช สูตร พอลลิตัน สารสกัดสรรพคุณสูง ช่วยลดการอักเสบของเซลล์ และปรับสมดุลการทำงานของไต
🌿งานวิจัยโภชนเภสัช สูตร พอลลิทอล สารสกัดสรรพคุณสูง ปรับสมดุลระบบเลือด เพิ่มประสิทธิภาพเซลล์ตอบสนองอินซูลิน เพื่อเร่งขบวนการสร้างพลังงานในเซลล์ ลดน้ำตาลในกระแสเลือด
🌿งานวิจันโภชนเภสัช สูตร พอลลิเท็น สารสกัดสรรพคุณสูง บำรุงไต บำรุงหัวใจ บำรุงสมอง
ช่วยเพิ่มขบวนการซ่อมสร้างเซลล์
🌾พอลลิตินทำงานอย่างไร? ช่วยผู้ป่วยไตเสื่อม ให้มีคุณภาพชีวิตดีขึ้นได้ ?
👉พอลลิตินมีกรดอะมิโน วิตามิน แร่ธาตุ มากกว่า 280 ชนิด เมื่อรับประทานไปแล้วร่างกายดูดซึมเข้าไปใช้ได้ทันทีในแต่ละระบบ
ซึ่งไปช่วยเพิ่มความแข็งแรงของเม็ดเลือดขาวให้แข็งแรง รวมถึงเมื่อเซลล์ต่างๆ ได้รับสารอาหารที่เหมาะสมระบบต่างๆ ก็แข็งแรง จึงทำให้ร่างกายสามารถต่อสู้กับโรคร้ายต่างๆ ได้ และมีงานวิจัยรับรองทั้งในและต่างประเทศจำนวนมาก
ระยะเวลาในการเห็นผลลัพธ์
👉 เนื่องจากผลิตภัณฑ์พอลลิตินสามารถดูดซึมไปใช้งานได้ทันที ทำให้ผู้รับประทานจะรู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลงได้หลังจากรับประทานไปแล้ว 1-3 ชม. และจะชัดเจนขึ้นเมื่อรับประทานไปประมาณ 2-3 สัปดาห์ หากรับประทานต่อเนื่องจนร่างกายเป็นปกติ ควรทานต่อเนื่อง 3 เดือนขึ้นไป
สูตรการรับประทานงานวิจัยโภชนเภสัช บำบัดเบาหวานลงไต
หลักการรับประทานแคปซูลงานวิจัยโภชนเภสัช ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
💥 รับประทานตอนท้องว่าง (ก่อนอาหาร 30 นาที.) เพื่อการดูดซึมเข้าสู่เซลล์ได้หมด
💥 ห้ามรับประทานอาหารเสริม หรือสมุนไพรอื่น ร่วม เพราะจะทำให้สูตรของสารอาหาร แคปซูลงานวิจัย เจือจางส่งผลให้ขาดประสิทธิภาพในการกระตุ้นการสร้างระบบภูมิคุ้มกัน
💥 สามารถรับประทานร่วมกับยาปฎิชีวนะ ยาโรคประจำตัวอื่นได้ เพราะยาคือสารสังเคราะห์ทำงานนอกเซลล์ แคปซูลงานวิจัย เป็นสารสกัดพฤกษเคมี จากพืชธรรมชาติ ทำงานในเซลล์ จึงไม่ขัดประสิทธิภาพในการทำงานกัน
👍อาหารสำหรับ ผู้ป่วยโรคไตสามารถทานได้
คืออาหารที่มีโพแทสเซียมต่ำ คือผักผลไม้ที่มีสีซีดๆ เช่น ชมพู่ องุ่นเขียว แตงโม บวบเหลี่ยม เห็ดหูหนูขาว ฟักเขียว ผักกาดขาว กะหล่ำปลี แตงกวา แต่ก็สามารถทานสลับระหว่างอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง-ต่ำ เพื่อรักษาสมดุลของโพแทสเซียมในร่างกายได้เช่นเดียวกัน นอกจากนี้วิธีลดปริมาณโพแทสเซียมในผัก คือการลวกในน้ำร้อนก่อนทาน จะช่วยลดปริมาณโพแทสเซียมได้ถึง 30-40%
แต่หากพบปริมาณโพแทสเซียมในเลือดสูงผิดปกติ ควรงดผลไม้ทุกชนิด แล้วทานแต่ผักที่มีโพแทสเซียมต่ำ
💢ผลลัพธ์ที่ได้ ขึ้นอยู่แต่ละบุคคล